ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

สมเด็จวัดระฆังพิมพ์พระประธานเกศทะลุซุ้ม ค่านิยม 60 ล้านบาท

พระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์ใหญ่เกศทะลุซุ้ม พิมพ์หลวงวิจารณ์เจียรนัย(เฮง)นายช่างทองหลวงราชสำนัก
ในสมัยรัชกาลที่ ๔ ในจำนวนเนื้อหามวลสารหลักคือปูนเปลือกหอยสุก พระเก่ากำแพงเพชรที่ท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์โต นำมามีหลากหลายสี เช่น อิฐสีแดง , สีเขียว , สีน้ำเงิน , สีฟ้า , สีคราม เศษพระเครื่องหักของ กำแพงเมืองเพชร สมัยที่สมเด็จพุฒาจารย์ (โต) ได้ไปเดินธุดงค์พบพระเนื้อดินหัก แต่ยังเต็มเปี่ยมไป ด้วยพระพุทธคุณ จึงนำมาสร้างพระเพื่อให้เกิดความเป็นสิริมงคล และความขลังแก่พระสมเด็จหยก เป็นแร่เย็น มีความหมายอยู่เห็นเป็นสุข  เจ้าสัวคนหนึ่งทำองค์กวนอูหยกแตกนำมาถวาย  สมเด็จ(โต) นำมาบดทำเป็นมวลสาร

พระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์ใหญ่พระประธาน ด้านหลังเรียบปรากฏร่องรอยการหดตัว ยุบย่น มีเศษพระกำแพงซุ้มกอปละปรายทั่วทั้งองค์ 

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

พระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์ใหญ่สังฆาฏิ จักรพรรดิ เกศทะลุซุ้ม พิมพ์หลวงวิจารณ์เจียนัย(เฮง) ยุคปลาย พ.ศ.2412-2414

                                                                     พระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์ใหญ่สังฆาฏิจักรพรรดิ วรรณะขาวอมเหลือง เนื้อหา มวลสารปูนเปลือกหอยทะเลสุกป่น เป็นเนื้อหาหลัก ว่านเกสรมงคลวิเศษ , ผงวิเศษทั้ง ๕ , อิฐกำแพงซุ้มกอ อาทิ สีดำ , สีแดง , สีน้ำตาล เหล่านี้เป็นต้นตามตำรับท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โตค  พรหมรังสี) แห่งวัดระฆังโฆษิตาราม กรุงเทพมหานคร นำน้ำมันตังอิ๊วมาเป็นส่วนผสมผสานความเข้มข้นหนืดเป็นตัวประสานให้หนึบคงทน ไม่แตกหักง่าย พิมพ์ทรงพร้อมถึงธรรมชาติเนื้อหาเก่าแกร่งสวยงดงาม พิมพ์หลวงวิจารณ์เจียรนัย(เฮง) สร้างในยุคปลายราว พ.ศ. 2412-2414

พระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์ใหญ่ เกศทะลุซุ้ม หลังอักษรจีน Phra somdej WAT WAT Rakhang (uppercase Bell surpassed the arch after the Chinese characters) (帕塔掃管笏笏大寫貝爾超越拱後的中文字元。)

พระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์ใหญ่ เกศทะลุซุ้ม วรรณะขาว แตกลายงาหลังอักษรจีน พระสมเด็จวัดระฆัง หลังอักษรจีนมงคล องค์พระมีการพัฒนาอย่างเป็นระบบถึงความเก่า พิเศษหลังภาษาจีนมงคลสร้างเพื่อแจกจ่ายและเป็นของกำนัลให้แก่ชาวจีนเยาวราชที่มีความศรัทธาในองค์สมเด็จโตฯ และเป็นขวัญกำลังใจเพื่อค้าชาวจีนในเมืองไทยที่เดินทางไปค้าขายยังเมืองจีนและประเทศอื่นๆ พระสมเด็จวัดระฆัง ด้านหลังอักษรจีน ด้วยความศรัทธาของประชาชนจำนวนมากที่มีต่อพระพุทธศาสนาและองค์หลวงปู่โตฯ ได้มีเจ้านายชั้นผู้ใหญ่ ข้าราชการ พ่อค้า ประชาชนฯ ที่พอจะมีฝีมือทางช่างบ้างและด้วยศรัทธาด้วย มาช่วยกันเอามวลสารต่างๆที่เป็นสูตรเนื้อพระวัดระฆังไปช่วยกันกดพิมพ์ที่วัง ที่บ้านของตัวเอง เสร็จแล้วนำกลับมาให้หลวงปู่โตทำพิธีต่อไป การสร้างพระจำนวนมากให้พอ ๘๔๐๐๐ องค์ เพื่อเป็นการสืบต่อพระพุทธศาสนา ในการสร้างพระนั้นได้มีการทำสัญญลักษณ์ต่างๆเพื่อเป็นบ่งบอกเครื่องหมายว่าใครเป็นผู้สร้าง เช่น โค้ดรูประฆัง , หลังร่องสวน , หลังหมอน , หลังรังผึ้ง(ขนมรังผึ้ง) หลังภาษาจีนหลังยันต์ และอื่นๆ   พระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์นี้ หลังภาษาจีนสร้างปี พ.ศ. 2411 ในวาระที่ พระบาท...

พระสมเด็จวัดระฆัง หลังอักษรจีน ค่านิยม 15 ล้านบาท